กรุณารอสักครู่
หน้าแรก
ข้อมูลการสำรวจ
รายละเอียดข้อมูลการสำรวจ รายการที่ 5711
ชื่อไทย ชมพูพันธุ์ทิพย์ ลักษณะเด่น แม่ไม้ พิกัดสำหรับเผยแพร่ 13.8421,100.573772 แหล่งที่พบ อนุสาวรีย์สามบูรพาจารย์ เส้นรอบวงลำต้น-นางเดียว (เซนติเมตร) 736.0 จำนวนที่พบ (ต้น) 1 ความสูงของต้น-นางเดียว (เมตร) 10.0 ขึ้นตามธรรมชาติ/นำมาปลูก นำมาปลูก การใช้เป็นต้นพันธุ์ ใช้เป็นต้นพันธุ์ จังหวัดที่พบ กรุงเทพมหานคร วันที่สำรวจ 31-01-2564 พื้นที่หน้าตัด (ตารางเซ็นติเมตร) 43106.798026554 จำนวนนาง หนึ่งนาง หมายเลขอ้างอิง 674 ปริมาณการดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซค์ 0.02266 ตัน ปริมาณการปลดปล่อยก๊าซออกซิเจน 0.01648 ตัน
ชื่อวิทยาศาสตร์ Tabebuia rosea ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม Tabebuia rosea (Bertol.) Bertero ex A.DC. ชื่อสามัญไทย ชมพูพันธุ์ทิพย์ ชื่อสามัญอังกฤษ Rosy trumpet tree ชื่อท้องถิ่น ชมพูอินเดีย ตาเบบูยา ธรรมบูชา อาณาจักร Plantae ไฟลัม/ดิวิชั่น Tracheophyta ชั้น Magnoliopsida อันดับ Lamiales วงศ์ Bignoniaceae สกุล Tabebuia ชนิด Tabebuia rosea ลักษณะทางสัณฐานวิทยา ม้ต้นขนาดกลางสูง 15-25 เมตร ผลัดใบ เรือนยอดรูปไข่หรือทรงกลม แผ่กว้างเป็นชั้นๆ เปลือกต้นเรียบสีเทาหรือสีน้ำตาล เมื่ออายุมากเปลือกแตกเป็นร่อง กิ่งเปราะหักง่าย ใบ ใบประกอบรูปนิ้วมือ ใบย่อย 5 ใบ ก้านใบรวมยาว 5-30 เซนติเมตร ก้านใบย่อยยาว 0.5-2.5 เซนติเมตร ใบรูปขอบขนานหรือรูปไข่แกมรูปรี กว้าง 3-7 เซนติเมตร ยาว 7.5-16 เซนติเมตร ปลายใบแหลมหรือเรียวแหลม โคนใบมนหรือสอบ ขอบใบเรียบ แผ่นใบหนาสีเขียวเข้ม ดอก สีชมพูอ่อน ชมพูสดและขาว กลางดอกสีเหลือง ออกเป็นช่อแบบช่อกระจุกที่ปลายกิ่ง มีดอกย่อยจำนวนมาก โคนกลีบดอกเชื่อมติดกันเป็นหลอดปลายแยกเป็น 5 แฉก คล้ายรูปแตร ยาว 5-7 เซนติเมตร มักบาน พร้อมกัน ร่วงง่าย ดอกบานเต็มที่กว้าง 5-8 เซนติเมตร ผล ผลแห้งแตก เป็นฝักกลม ยาว 15-30 เซนติเมตร เมื่อแก่แตกเป็น 2 ซีก เมล็ดแบน สีน้ำตาล มีปีก
ถิ่นที่อยู่อาศัย Belize, Colombia, Costa Rica, Ecuador, El Salvador, French Guiana, Guatemala, Guyana, Honduras, Mexico Central, Mexico Gulf, Mexico Northeast, Mexico Northwest, Mexico Southeast, Mexico Southwest, Nicaragua, Panamá, Venezuela ระบบนิเวศ ดินทั่วไป ความชื้นปานกลาง แสงแดดเต็มวัน การกระจายพันธุ์ Brazil Southeast, Brazil West-Central, Cayman Is., Cuba, Dominican Republic, Gambia, Jamaica, Leeward Is., Puerto Rico, Trinidad-Tobago, Venezuelan Antilles, Windward Is. รายละเอียดอื่นๆของสิ่งมีชีวิต ต้นไม้ประจำชาติประเทศเอลซัลวาดอร์[2] หม่อมราชวงศ์พันธุ์ทิพย์ บริพัตรเป็นผู้นำเข้ามาปลูกในประเทศไทย เมื่อ ค.ศ. 1957 (พ.ศ. 2500) ลิงค์ข้อมูลเพิ่มเติม http%3A%2F%2Fwww.theplantlist.org%2Ftpl1.1%2Frecord%2Fkew-318853%2C%0Ahttp%3A%2F%2Fwww.plantsoftheworldonline.org%2Ftaxon%2Furn%3Alsid%3Aipni.org%3Anames%3A111027-1